[Thesun]พระกรรมฐานพ่อแม่ครูอาจารย์และพระเกจิอาจารย์ทั่วไป(อ่าน 673170 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 8 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

91.พระผงรูปเหมือน พิมพ์เสมา ครูบาคำแสน วัดสวนดอก ปี๒๕๑๙ (พิธีมหาพุทธาภิเษกใหญ่ ในหลวงทรงสด็จเททอง) ลป.คำแสน วัดป่าดอนมูล/ครูบาคำแสน วัดสวนดอก/ครูบาชุ่ม ฯลฯ ร่วมปลุกเสก กล่องเดิมๆ 600-

พระผงรูปเหมือนรุ่นนี้...สร้างและปลุกเสกพร้อมกับ พระบูชาพุทธบุพพาภิมงคล ,พระกริ่งพุทธบุพพาภิมงคล ,รูปหล่อครูบาคำแสน เหรียญรูปไข่ และ เหรียญขวัญถุง ครูบาคำแสน
จัดสร้างโดยท่านเจ้าคณะจังหวัดเชียงใหม่ เพื่อจัดหาทุนจัดสร้างหอธรรม ของวัดบุพพาราม โดยในวันทำพิธีมหาพุทธาภิเศก ทางวัดได้กราบบังคมทูลเชิญองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จพระราชดำเนินเททองหหล่อพระพุทธรูปประจำหอพระธรรม โดยพระองค์ท่านได้พระราชทานพระนามของพระพุทธรูปว่า " พระพุทธบุพพาภิมงคล " โดยได้นิมนต์พระเกจิฯชื่อดังของล้านนามาร่วมพิธีมหาพุทธาภิเศก อาทิ ครูบาคำแสน อินทจักรโก วัดสวนดอก ครูบาคำแสน คุณาลังกาโร วัดป่าดอนมูล ครูบาชุ่ม โพธิโก วัดชัยมงคล(วังมุย) ครูบาธรรมชัย วัดทุ่งหลวง ครูบาชัยวงศ์ วัดพระบาทห้วยต้ม ฯลฯ มาร่วมปลุกเสกในพิธี












92.ล๊อคเก็ตงานเขียนสีเก่า หลวงพ่อนุ่ม ธัมมาราโม วัดนางในธัมมิการาม อ.วิเศษไชยชาญ จ.อ่างทอง  ปี2500 หายาก 2000-





หลวงพ่อนุ่ม ธมฺมาราโม แห่งวัดนางในธัมมิการาม จังหวัดอ่างทอง โดยพื้นเพแล้วท่านไม่ใช่เป็นคนจังหวัดอ่างทองโดยกำเนิด ท่านเกิดที่บ้านสามจุ่น ตำบลวังน้ำซับ อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรของพ่อสอน แม่แจ่ม ศรแก้วดารา เกิดเมื่อวันที่15 สิงหาคม พ.ศ. 2426 ตรงกับวันเสาร์ แรม 3 ค่ำ เดือน 9 ปีมะแมอายุ 10 ปี ได้เล่าเรียนศึกษาภาษาไทยและภาษาขอมกับพระอธิการพ่วง ซึ่งเเป็นพี่ชายคนที่สองของท่านและเมื่อมีอายุได้ 15 ปี ได้รับความไว้วางใจให้เป็นผู้ช่วย ในการสอนหนังสือทั้งภาษาไทยและภาษาขอมให้กับลูกศิษย์คนอื่นด้วย อุปสมบทเมื่ออายุ 20 ปีณพัทธสีมาวัดปลายนา อำเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี วันที่ 1 เมษายน พ.ศ.2446 มีพระครูธรรมสารรักษา (อ้น) เป็นพระอุปัชฌาย์ พระปลัดดี วัดปู่เจ้า และพระอธิการช้าง เป็นพระกรรมวาจาจารย์ตามลำดับ ได้รับฉายาว่า ธมฺมาราโม ภายหลัง จากได้อุปสมบทแล้วท่านได้พำนักจำพรรษา ณวัดสามจุ่น ศึกษาเล่าเรียนพระธรรมวินัยจน เชี่ยวชาญแตกฉาน โดยได้เรียนจากพระอธิการพ่วงผู้เป็นพระพี่ชายและฆราวาสอีกท่านหนึ่ง ชื่อว่าอาจารย์เชตุย่างเข้าสู่พรรษาที่ 8 ซึ่งขณะนั้นทางวัดสามจุ่นโดยมีพระอธิการจุ่น เป็นเจ้าอาวาส มีความประสงค์จะสร้างพระอุโบสถ หลวงพ่อนุ่มจึงจำเป็นต้องเดินทาง ไปจำพรรษาอยู่ที่วัดหลวง อำเภอวิเศษชัยชาญ เป็นการชั่วคราวเพื่อเป็นผู้ประสานงาน ในการซื้อวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ในการก่อสร้าง กระทั่งการก่อสร้างแล้วเสร็จจึงได้กลับมาอยู่ วัดสามจุ่นดังเดิมขณะที่ท่านได้พำนักจำพรรษาณวัดหลวง อำเภอวิเศษชัยชาญ นั้น ท่านได้สร้างศรัทธาให้เกิดขึ้นแก่ประชาชนในแถวย่านนั้นเป็นอย่างมากกระทั้งถึงปีพ.ศ. 2459 วัดหลวงได้ว่างเจ้าอาวาสลง ศรัทธามหาชนของชาววัดหลวงจึงได้พร้อมใจกันมาอาราธนา นิมนต์หลวงพ่อนุ่มให้ไปเป็นเจ้าอาวาส ขณะนั้นท่านมีพรรษาท ี่14 ช่วงที่ท่านดำรงตำแหน่ง เจ้าอาวาสฯ ได้พัฒนาวัดจนเจริญรุ่งเรืองขึ้นตามลำดับ จนพุทธศาสนิกชนส่วนใหญ่ ของชาวอำเภอวิเศษชัยชาญนำโดย นายเผ่า ชัชวาลยางกูร คหบดีและเป็นเจ้าของตลาดสด ในอำเภอวิเศษชัยชาญ ต่างเห็นพ้องต้องกันควรที่จะอาราธนาท่านมาดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาส วัดนางในธัมมิการาม ซึ่งตั้งอยู่ใกล้ชุมชนใหญ่และเป็นศูนย์กลางอำเภออย่างแท้จริง อันจะสะดวกแก่ประชาชนในการเดินทางมากราบนมัสการตรงกับปี พ.ศ. 2469ปีพ.ศ.2473 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะตำบลศาลเจ้าโรงทอง ปีพ.ศ. 2477เป็นพระอุปัชฌาย์ตามลำดับ หลวงพ่อนุ่ม ธมฺมาราโม ได้ถึงแก่มรภาพเมื่อวันท ี่13 สิงหาคม พ.ศ.2497 เวลา 23.15 น. รวมสิริอายุได ้72 ปี52 พรรษา

ในด้านการศึกษาพระเวทย์วิทยาคมต่างๆ นั้นไม่ปรากฏหลักฐานยืนยันได้ว่า ท่านศึกษามา จากที่ใด ทราบแต่เพียงว่าท่านเป็นผู้ที่สนใจในด้านวิปัสสนากัมมัฏฐาน และเป็นผู้ที่เชี่ยวชาญ มากได้รับการยอมรับจากศิษยานุศิษย์และประชาชนทั่วไป ว่าท่านเป็นผู้เรืองวิทยาคมเด่นมาก ในด้านโหราศาสตร์, น้ำมนต์ซึ่งการทำน้ำมนต์นี้ท่านปลุกเสกด้วยพระคาถา แก้วสามโลก พร้อมกันนั้นความรอบรู้เชี่ยวชาญในเรื่องตำรับยาแผนโบราณ สำหรับวัตถุมงคลของหลวงพ่อนุ่มนั้น ปรากฏว่ามีการจัดสร้างมากมายหลายแบบหลาย ประเภทหลายพิมพ์หลายเนื้อ อาทิ เหรียญรูปเหมือน เบี้ยแก้ พระเนื้อดินพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น เพิ่มเติมนิดหน่อยครับ มีผู้ใหญ่ท่านหนึ่งที่ทันหลวงพ่อนุ่มเล่าให้เซียนพระวิเศษฯ ฟังว่าสมัยนั้นหลวงพ่อจงและหลวงพ่อคำท่านสนิดสนมกันดีไปมาหาสู่กันเป็นประจำ และในขณะนั้นหลวงพ่อนุ่มท่านก็มีชื่อเสียงมากในจังหวัดอ่างทอง หลวงพ่อจง วัดหน้าต่างนอก ยกให้หลวงพ่อนุ่มเป็นเกลอ สมัยก่อนท่านจะลองวิชาหรืออาจจะทดสอบอะไรกันไม่ทราบ ท่านก็มาหาหลวงพ่อนุ่มที่วัด และจารตระกรุด เสกเป็นปลากัดกัดกันในบาตรน้ำมนต์ผู้ใหญ่ท่านนั้นเล่าว่ากัดกันจนน้ำกระเซ็น สักพักหนึ่ง ตระกรุดของหลวงพ่อจงจมลงก้นบาตรก่อนหลวงพ่อนุ่ม

อนึ่งงานประจำปีของวัดนางในทุกปี จะจัดงานตรงกับเทศกาลตรุษจีน เป็นงานที่ใหญ่โตทางวัดเปิดโอกาสให้ประชาชนปิดทองรูปเหมือหล่อหลวงพ่อนุ่ม มีประชาชนและชาวอ่างทองไปร่วมงานเป็นหมื่นคนทุกปี เนื่องจากชาวเมืองอ่างทองโดยเฉพาะชาววิเศษชัยชาญเคารพศรัทธาในตัวหลวงพ่อนุ่มเป็นอย่างมาก







93."สมเด็จปู่เฒ่า" สุดยอดวัตถุมงคลรุ่นสุดท้ายของ หลวงปู่สุภา กันตสีโล อริยสงฆ์แห่งวัดสีลสุภาราม จ.ภูเก็ต สวยๆ กล่องเดิม เปิดบูชาราคาวัดในสมัยนั้น 999-
ปิดครับ

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 27, 2017, 01:28:01 PM โดย thesun »



94.เหรียญรุ่นแรกหลวงปู่ขาน ฐานวโร วัดป่าบ้านเหล่า อําเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย ปี24 สภาพสวยแชมป์ สภาพนี้หาไม่ง่ายแล้วครับ พื้นที่ราคาสูงครับ

เก็บทั้งทีเก็บสวยๆครับ
1,550- ปิดครับคุณวศินภัทร




« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 27, 2017, 01:28:19 PM โดย thesun »



95.ไม้งิ้วดำแกะพิมพ์ยืนบิณฑบาตร หลวงตาพวง สุขินทริโย วัดศรีธรรมาราม จ.ยโสธร ด้านหลังติดจีวร เกศา และหลวงตาเมตตาจาร ลูกศิษย์แกะแล้วมาให้หลวงตาอธิษฐานจิต
นำออกมาทำบุญที่วัดสมัยก่อน องค์ละ 500- บาทและได้ถวายปัจจัยเป็นค่ายา ค่ารักษาพยาบาลหลวงตา  สร้างน้อย หายากครับ
1200-










81.เสือมหาอำนาจ หลวงพ่อโชติ วัดวชิราลงกรณ์ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา เนื้อตะกั่วชุบทอง หายาก เหลือตัวสุดท้ายแล้วครับ 850-

นานทีถึงจะได้พบเจอสักครั้ง ข้อมูลจากสายตรงคือหลวงพ่อโชติท่านจะสร้างวัตถุมงคลแค่สองครั้งเองคือในครั้งแรกในปี2506และครั้งที่สองในปี2512 การจัดสร้างแต่ละครั้งมีจำนวนไม่มากนัก สมัยก่อนสร้างไว้แจกเป็นหลัก เสือมหาอำนาจ เป็นอีกรุ่นหนึ่งที่ท่านได้สร้างออกมา ถึงจะได้ชื่อรุ่นว่า เสือมหาอำนาจ

 เหมาะแก่บูชาโดยข้าราชการหรือนักบริหารทั่วไปที่ต้องมีพระเดชพระคุณในการปกครองพอสมควร เสือมหาอำนาจสร้างแบบนี้เน้นไปทางด้านมหาอำนาจ แถมป้องกันคุณไสยและเขี้ยวงาจากสัตว์และแมลงพิษต่างๆได้อีกด้วย แต่พระเถระอาจารย์ทางสายนี้ มีเมตตาสูง ดังนั้นเสือมหาอำนาจรุ่นนี้จึงมีพร้อมทั้งมหาอำนาจและเมตตามหานิยม




ขอจองรายการนี้ครับ

โอนแล้วขอบคุณครับ



97.รูปอัดกระจกครูบาศรีวิชัย ครูบาขาวปี เก่า ครูบาขาวปี  วัดพระพุทธบาทผาหนาม อำเภอลี้ จ.ลำพูน อธิษฐานจิต 250-








98.เหรียญหล่อหยดน้ำพระยาภักดีชุมพล (เจ้าพ่อพญาแล) จ.ชัยภูมิ ปี30 พิธีใหญ่ ปลุกเสกพิธีหมู่ เนื้อนวโลหะ 2 เหรียญ 600-












 :-[99.เหรียญพระแก้วมรกต "หมดห่วง" รุ่นแรก  จัดสร้างโดยคุณสุธันย์ สุนทรเสวี  เมื่อปี พ.ศ.2522-2523 สุดยอดชนวนมวลสาร อธิษฐานจิตเป็นปีครับ
 
โดยพระเกจิอาจารย์ทั่วประเทศในสมัยนั้น สวยๆ
3100-  ปิดครับ วันชัย อรุณธรรมสกุล
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 27, 2017, 01:28:42 PM โดย thesun »



99.เหรียญพระแก้วมรกต "หมดห่วง" รุ่นแรก  จัดสร้างโดยคุณสุธันย์ สุนทรเสวี  เมื่อปี พ.ศ.2522-2523 สุดยอดชนวนมวลสาร อธิษฐานจิตเป็นปีครับ

โดยพระเกจิอาจารย์ทั่วประเทศในสมัยนั้น สวยๆ 3100-

      ขอจองครับ



99.เหรียญพระแก้วมรกต "หมดห่วง" รุ่นแรก  จัดสร้างโดยคุณสุธันย์ สุนทรเสวี  เมื่อปี พ.ศ.2522-2523 สุดยอดชนวนมวลสาร อธิษฐานจิตเป็นปีครับ

โดยพระเกจิอาจารย์ทั่วประเทศในสมัยนั้น สวยๆ 3100-

      ขอจองครับ

ขอบพระคุณครับ



100.สมเด็จหินศรีเทพ หลวงพ่อน้อย (เตชปุญโญ) วัดหนองโพ นครสวรรค์ ทายาทสืบพุทธาคมหลวงพ่อเดิม วัดหนองโพ หลังจารยันต์พระพุทธเจ้าห้าพระองค์บางๆ หายากนิยมที่สุดในวัตถุมงคลของท่าน 750-

ปิดครับ  ท่าน j999


« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 27, 2017, 01:28:50 PM โดย thesun »



101.พระผงดำเกศาหลวงพ่อประสิทธิ์ วัดป่าหมู่ใหม่ จ.เชียงใหม่ ปี 2552 650-

หลวงปู่สิม มีพระผงดำแห่งถ้ำผาปล่อง หลวงพ่อประสิทธิ์มีพระผงดำแห่ง วัดป่าหมู่ใหม่


จัดสร้างโดยวัดสันติธรรม จ.เชียงใหม่ ที่ระลึกแจกงานวัดเกิดท่านเมื่อ วันที่ 5 มีนาคม 2552

เนื้อหามวลสารในองค์พระได้แก่
-เนื้อผงใบลานคลุกรัก
-ผงอิฐยอดเจดีย์พุทธคญา ประเทศอินเดีย
-เกศา
-ชานหมาก
-ขี้โย(บุหรี่)
-ผงธูปหลวงพ่อประสิทธิ์
-ผงอิทธเจหลวงพ่อแก้ว วัดครือวัลย์,หลวงปู่คลีบ วัดสมถะ
-ผงแร่เหล็กน้ำพี้
-พระเกษรดอกไม้บูชาพระธาตุ วัดสันติธรรม
-ผงวิเศษที่เป็นมงคลต่างๆ มากมาย

ด้านหน้าปิดทองคำเปลว ขนาดกระทัดรัดครับ

สภาพสวยมากๆครับ












102.เหรียญพระครูศรีพรหมโสภิต (หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง)  ออกวัดไทรยืด ปี2506 เนื้อกะไหล่ทอง เหรียญเก่า เหรียญยุคแรกๆของหลวงพ่อ หายากพอสมควร 750-

ปิดครับ  ท่าน j999

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: มิถุนายน 27, 2017, 01:29:01 PM โดย thesun »



102.เหรียญพระครูศรีพรหมโสภิต (หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง)  ออกวัดไทรยืด ปี2506 เนื้อกะไหล่ทอง เหรียญเก่า เหรียญยุคแรกๆของหลวงพ่อ หายากพอสมควร 750-

หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง เทพเจ้าแห่งลุ่มแม่น้ำน้อย อริยสงฆ์ผู้เปี่ยมเมตตาแห่งสิงห์บุรี



 พระเทพสิงหบูราจารย์ หลวงพ่อแพ เขมังกโร ท่านเป็นชาวสิงห์บุรีโดยกำเนิด เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ 1 มกราคม พ.ศ.2448 ที่บ้านสวนกล้วย ต.พิกุลทอง อ.ท่าช้าง โยมบิดา-มารดา ชื่อ นายเทียน-นางหน่าย ใจมั่นคง มารดาเสียชีวิตตั้งแต่อายุเพียง 8 เดือน บิดาจึงยกให้เป็นบุตรบุญธรรมของ นายบุญ และนางเพียร ขำวิบูลย์ ซึ่งมีศักดิ์เป็นอา อายุ 11 ปี บิดามารดาบุญธรรมนำ ด.ช.แพ ขำวิบูลย์ ไปฝากที่สำนักอาจารย์ป้อม เพื่อศึกษาเล่าเรียนตามแบบโบราณนิยม และเข้าศึกษาต่อที่สำนักวัดชนะสงคราม กรุงเทพฯ ได้ระยะหนึ่ง ก็กลับบ้านเกิดเพื่อบรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดพิกุลทอง โดยมี พระอธิการพัน จันทสโร เจ้าอาวาสวัดพิกุลทอง เป็นพระอุปัชฌาย์ แล้วเดินทางกลับวัดชนะสงครามตามเดิม จนสอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยค ตั้งแต่เป็นสามเณร เมื่ออายุครบบวชก็กลับมาอุปสมบทที่วัดพิกุลทองอีก โดยมี พระมงคลทิพย์มุนี เจ้าอาวาสวัดจักรวรรดิราชาวาส กรุงเทพฯ เป็นพระอุปัชฌาย์, ท่านพระครูสิทธิเดช วัดชนะสงคราม เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และ ท่านเจ้าอธิการอ่อน วัดจำปาทอง เป็นพระอนุสาวนาจารย์ ได้รับฉายาว่า “เขมังกโร” แล้วเดินทางกลับไปจำพรรษาที่วัดชนะสงคราม ศึกษาด้านพระปริยัติธรรมขั้นสูง จนได้เปรียญ 4 ประโยค ได้เป็น “พระมหาแพ” หลังจากนั้นมานัยน์ตาเกิดอาการเจ็บปวดอย่างรุนแรง การศึกษาด้านพระปริยัติธรรมจึงต้องยุติลง แต่ด้วยความเป็นผู้ใฝ่ศึกษา ท่านจึงหันมาศึกษาด้านสมถกัมมัฎฐานและวิปัสสนากัมมัฎฐานที่สำนักพระครูภาวนา วัดเชตุพนฯ และยังได้เป็นศิษย์รูปหนึ่งของ สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) วัดมหาธาตุ ด้วย ต่อมาทราบว่าที่อำเภอบางระจัน มีพระอาจารย์เรืองวิทยาคมและวาจาศักดิ์สิทธิ์นัก ชื่อ หลวงพ่อศรี เจ้าอาวาสวัดพระปรางค์ ท่านจึงเดินทางไปฝากตัวเป็นศิษย์และยังเป็นที่โปรดปรานของพระอาจารย์เป็นอย่างยิ่ง

ปี พ.ศ.2473 อาจารย์หยด เจ้าอาวาสวัดพิกุลทอง ลาสิกขาบท ชาวบ้านจึงร่วมกันนิมนต์หลวงพ่อแพให้รับตำแหน่งเจ้าอาวาสสืบแทนในปี พ.ศ.2474 ท่านจึงเดินทางกลับบ้านเกิดเพื่อปกครองวัดพิกุลทอง โดยขณะนั้นมีอายุเพียง 26 ปีเท่านั้น และวัดพิกุลทองก็ชำรุดทรุดโทรมมาก ท่านจึงไปปรึกษา หลวงพ่อศรี พระอาจารย์ และด้วยบารมีของพระเกจิทั้งสองรูป จึงสามารถบูรณปฏิสังขรณ์ รวมทั้งสร้างถาวรวัตถุภายในวัดพิกุลทองได้ในเวลาอันรวดเร็ว อันได้แก่ พระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ หอสวดมนต์ หอประชุมกุฎิสงฆ์ หอไตร หอฉัน ศาลาวิปัสสนา โรงฟังธรรม และ ฌาปนสถาน เป็นต้น นอกจากนี้ ท่านยังสร้างความเจริญให้ท้องถิ่นอีกมากมายเพื่อเป็นสาธารณประโยชน์ ทั้ง โรงพยาบาล, ที่ว่าการอำเภอ, สถานีตำรวจ, สถานีอนามัย, โรงเรียนประชาบาล, สะพานข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ตลอดจนอาคารผู้ป่วยของโรงพยาบาลสิงห์บุรีที่เป็นอนุสรณ์สืบมาจนปัจจุบัน คือ อาคารหลวงพ่อแพ 80 ปี, อาคารหลวงพ่อแพ 86 ปี (อาคารเอ็กซเรย์), อาคารหลวงพ่อแพ 90 ปี และ อาคารหลวงพ่อแพ เขมังกโร ที่โดดเด่นเป็นสง่าภายในโรงพยาบาลสิงห์บุรี

หลวงพ่อแพ เป็นที่เคารพศรัทธาของสาธุชนโดยถ้วนหน้า มีลูกศิษย์ลูกหามากมาย ท่านได้รับการแต่งตั้งสมณศักดิ์เรื่อยมา สมณศักดิ์สุดท้ายเป็นพระราชาคณะชั้นธรรมที่ พระธรรมมุนี ท่านมรณภาพเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2542 รวมสิริอายุ 94 ปี พรรษา 73 ปัจจุบัน สรีระของหลวงพ่อแพยังคงประดิษฐาน ณ วัดพิกุลทอง เพื่อให้ญาติโยมและพุทธศาสนิกชนทั่วไปได้สักการบูชาสืบมา







ขอจองครับ




 

ติดต่อผู้ดูแลเว็บ หรือ สนใจลงโฆษณา โทร ๐๘๖๒๒๒๐๐๕๕

อีเบย์ อุดรธานี ร่ม รับนำเข้าสินค้าจากจีน power bank กระบอกน้ำ ของพรีเมี่ยม แฟลชไดร์ฟ plc mitsubishi ปากกา taobao เฟอร์นิเจอร์ แหวนเพชร servo motor mitsubishi